background

บทความ

ฝีดาษวานร MONKEYPOX
อาทิตย์, 22 พฤษภาคม 2022

ฝีดาษวานร MONKEYPOX

ฝีดาษวานร (Monkeypox) ถูกพบครั้งแรกในปี 1958 เมื่อมีการระบาดของโรคที่คล้ายไข้ทรพิษซึ่งเกิดในกลุ่มของลิงที่เลี้ยงไว้ทำวิจัย จึงได้ชื่อว่า ฝีดาษวานร ซึ่งมีคนเป็นโรคฝีดาษวานรในปี 1970 ในสาธารณรัฐประชาชนประชาธิปไตยคองโกya

แนวทางการปฏิบัติ��สำหรับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขที่สัมผัสผู้ป่วยยืนยัน COVID-19
จันทร์, 04 ตุลาคม 2021

แนวทางการปฏิบัติสำหรับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขที่สัมผัสผู้ป่วยยืนยัน COVID-19

ฉบับปรับปรุง วันที่ 4 ตุลาคม 2564

การจัดการสภาพแวดล้อมในสถานทำงานสำหรับลูกจ้างและบุคลากรที่งานไม่สามารถ Work from home ได้
จันทร์, 02 สิงหาคม 2021

การจัดการสภาพแวดล้อมในสถานทำงานสำหรับลูกจ้างและบุคลากรที่งานไม่สามารถ Work from home ได้

หลักการ 12 ข้อ ในการจัดการสภาพแวดล้อมในการทำงานสำหรับลูกจ้างและบุคลากรที่โดยลักษณะงานไม่สามารถทำงานที่บ้าน (Work from home) ได้ ตามข้อแนะนำของ CDC ประเทศสหรัฐอเมริกา

การวินิจฉัยเป็น COVID-19 จากการทำงาน
เสาร์, 02 มกราคม 2021

การวินิจฉัยเป็น COVID-19 จากการทำงาน

สมาคมโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมแห่งประเทศไทย ได้รับคำร้องขอจากกองทุนเงินทดแทนให้จัดทำแนวทางวินิจฉัยการเป็น COVID-19 จากการทำงานเนื่องจากมีลูกจ้างเป็นมากขึ้น ทางสมาคมได้ประชุมกับกรรมการและมีความคิดเห็นออกเป็นแนวทางที่ได้แนบมาดังรูปด้านล่างแล้ว ซึ่งกองทุนเงินทดแทน โดยคณะกรรมการแพทย์ ได้พิจารณาผ่านและประกาศไปเรียบร้อยแล้ว

Office Syndrome
พุธ, 30 ธันวาคม 2020

Office Syndrome

วีดีโอบันทึกการบรรยาย Office Syndrome ในกิจกรรมเสวนาทางการแพทย์ ในงานกาชาดออนไลน์ 2020

ยากำจัดศัตรูพืชชนิด organochlorine
พฤหัสบดี, 10 ธันวาคม 2020

ยากำจัดศัตรูพืชชนิด organochlorine

มีพิษต่อผิวหนัง การกิน และการหายใจ ตัวอย่างยาชนิดนี้ได้แก่ chlordane, chlordecone, Chlorobenzilate, DDT, DDE DDD, Dicofol/Kelthane,endrin, aldrin ,heptachlor, lindane, mehtoxychlor, mirex, toxaphene และ dieldrin

การวิ่งระยะไกล และ ภาวะหัวใจหยุดเต้น ก่อนวิ่งควรระวังอะไรบ้าง
อาทิตย์, 29 พฤศจิกายน 2020

การวิ่งระยะไกล และ ภาวะหัวใจหยุดเต้น ก่อนวิ่งควรระวังอะไรบ้าง

วันนี้มีข่าวมีผู้ถึงแก่กรรมด้วยหัวใจหยุดเต้นกะทันหันระหว่างการวิ่งระยะไกล สามคนทีเดียว คนหนึ่งเป็นรองอธิบดีกรมควบคุมโรค ที่รู้จักดี มีข่าวแบบนี้เป็นระยะ การวิ่งเป็นเรื่องดี เป็นการออกกำลังที่ดีต่อสุขภาพ มีผลดีมากกว่าผลเสียแน่ๆ แต่นักวิ่งควรมีการเตรียมพร้อมและฟิตสุขภาพให้ดี มีโรคบางโรคที่เป็นผลเสียถ้ามีการวิ่งระยะไกล

โรคเรื้อรังกับคนทำงาน
อังคาร, 17 พฤศจิกายน 2020

โรคเรื้อรังกับคนทำงาน

คนที่เป็นโรคเรื้อรังชนิดต่างๆ เวลาทำงานต้องระวังอะไรบ้าง

การจัดการเรื่องอาชีวอนามัยและความปลอดภัยของบุคลากรทางการแพทย์ฉุกเฉินระหว่างเหตุการณ์ขัดแย้ง
ศุกร์, 16 ตุลาคม 2020

การจัดการเรื่องอาชีวอนามัยและความปลอดภัยของบุคลากรทางการแพทย์ฉุกเฉินระหว่างเหตุการณ์ขัดแย้ง

บุคลากรทางการแพทย์ที่ออกไปปฏิบัติงานด้านฉุกเฉินในเหตุการณ์ขัดแย้งบ้าง น่าเห็นใจพวกเขาเหล่านี้มาก เพราะต้องไปอยู่ในเหตุการณ์ culture shock และ ความรุนแรง ความเครียด ในบรรยากาศที่ไม่มีสิ่งอำนวยความสะดวก และต้องระมัดระวังตัวตลอดเวลา บุคลากรทางการแพทย์ที่ออกไปปฏิบัติงานด้านฉุกเฉินในสถานการณ์ขัดแย้ง ที่อาจมีความรุนแรงนั้นมีความเสี่ยงในด้านต่างๆ เหมือนกับในเรื่องการจัดการในอุบัติเหตุ เหตุการณ์ธรรมชาติ แต่ในเรื่องความขัดแย้งยังมีความเสี่ยงด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเพิ่มขึ้น

จิตใจกับ COVID-19
จันทร์, 12 ตุลาคม 2020

จิตใจกับ COVID-19

ไม่แปลกที่เราจะรู้สึกเครียด วิตกกังวล หรือซึมเศร้าในสถานการณ์ COVID-19 และ Post COVID-19 ให้ตรวจสอบตนเองตามนี้

ในยุค COVID-19 เราจะตรวจสุขภาพคนทำงานตามปัจจัยเสี่ยงได้อย่างไร
อาทิตย์, 11 ตุลาคม 2020

ในยุค COVID-19 เราจะตรวจสุขภาพคนทำงานตามปัจจัยเสี่ยงได้อย่างไร

ได้พูดถึงกฎกระทรวงเรื่องการตรวจสุขภาพฉบับใหม่ไปแล้ว ตอนนี้ปัญหาคือจะตรวจตามปัจจัยเสี่ยงได้อย่างไรในยุค COVID-19 นี้ สิ่งที่เป็นพื้นฐานคือ ต้องมีระยะห่างระหว่างกัน อย่างน้อย 2 เมตรต่อคน (social isolation) ต้องมีการใส่หน้ากาก และมี hand และ respiratory hygiene นอกจากนี้ยังต้องมีการคัดกรองคนทำงานที่จะมาตรวจ โดยใช้แบบสอบถามการสัมผัสเชื้อ (ซึ่งในระยะแรกคือคำถามการไปต่างประเทศ หรือมาจากแหล่งระบาดเช่นสนามมวย) และคัดกรองอาการไข้ ไอ ปวดเมื่อยตัว และ การตรวจอุณหภูมิกาย อย่างไรก็ตามถ้าดูการตรวจสุขภาพปัจจุบัน จะค้านมาตรการนี้ทั้งหมด

กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานการตรวจสุขภาพลูกจ้างซึ่งทำงานเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง ปี 2563
ศุกร์, 09 ตุลาคม 2020

กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานการตรวจสุขภาพลูกจ้างซึ่งทำงานเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง ปี 2563

มีกฎกระทรวงออก(ปรับ)ใหม่ ออกมาอีกหนึ่งฉบับจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กำหนดมาตรฐานการตรวจสุขภาพลูกจ้างซึ่งทำงานเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง ปี 2563 โดยกฎกระทรวงลักษณะเดียวกันนี้ฉบับแรกออกเมื่อปี 2547 ชื่อว่า กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสุขภาพของลูกจ้าง และส่งผลการตรวจแก่พนักงานตรวจแรงงาน เนื้อหาใจความส่วนใหญ่ก็คล้ายเดิม แต่มีจุดเปลี่ยนแปลงอยู่บ้าง

การตรวจสุขภาพ New Normal
เสาร์, 03 ตุลาคม 2020

การตรวจสุขภาพ New Normal

การตรวจสุขภาพ New Normal ดัดแปลงจาก บทบรรณาธิการของ New England Journal of Medicine ฉบับ 12 สิงหาคม 2020 เรื่อง Covid-19 and the Mandate to Redefine Preventive Care ซึ่งน่าจะนำมาใช้เป็น new normal ในเรื่องการตรวจสุขภาพ

การเฝ้าระวังสุขภาพทางอาชีวเวชศาสตร์
ศุกร์, 18 กันยายน 2020

การเฝ้าระวังสุขภาพทางอาชีวเวชศาสตร์

การเฝ้าระวังมีนิยามว่า 1. การสังเกตบุคคลหรือกลุ่มบุคคลอย่างใกล้ชิดโดยเฉพาะในคนที่สงสัย 2. การสังเกต หรือ สภาพที่ถูกสังเกต คำว่าเฝ้าระวัง (surveillance) มาจากคำฝรั่งเศสที่มีความหมายว่าการจับตามอง (to watch over) การเฝ้าระวังถือเป็นกิจกรรมหลักของงานอาชีวเวชอนามัย โดยแบ่งเป็น การเฝ้าระวังสิ่งคุกคาม และการเฝ้าระวังสุขภาพ การเฝ้าระวังสุขภาพ สามารถทำได้ในรูปของการประเมินตัวลูกจ้าง หรือการตรวจร่างกายลูกจ้าง เป็นระยะสม่ำเสมอ (periodic clinical assessment) หรือการทบทวนทางสาธารณสุขเกี่ยวกับสภาวะทางสุขภาพของกลุ่มลูกจ้าง ในตัวลูกจ้างเป็นราย ๆ นั้น

ความปลอดภัยของบุคลากรทางการแพทย์
ศุกร์, 18 กันยายน 2020

ความปลอดภัยของบุคลากรทางการแพทย์

ถ้าบุคลากรทางการแพทย์ไม่มีความปลอดภัย ก็จะไม่สามารถส่งต่อบริการดูแลที่มีคุณภาพและปลอดภัยให้แก่ผู้ป่วยได้ (No Patient Safety without Health Worker safety) ดัดแปลงจากบท Comment ใน Lancet เดือนกันยายน 2020

เกณฑ์ใช้เพื่อระบุระดับความเสี่ยงการติด COVID-19 จากการท่องเที่ยว (COVID-19 Travel Health Notice)
พฤหัสบดี, 17 กันยายน 2020

เกณฑ์ใช้เพื่อระบุระดับความเสี่ยงการติด COVID-19 จากการท่องเที่ยว (COVID-19 Travel Health Notice)

เกณฑ์ที่บอกถึงความเสี่ยงของจุดหมายที่เราจะไป อาจเป็นประเทศอื่นๆ หรือ จังหวัดในประเทศไทย โดยในอเมริกาเรียกว่า COVID-19 Travel Health Notice (THN) หน่วยงานป้องกันโรค (CDC) ประเทศอเมริกา พิจารณาระดับความเสี่ยงต่อการติด COVID-19 ในต่างประเทศและในรัฐต่างๆ ของอเมริกาโดยข้อมูลสองชุด (เกณฑ์ปฐมภูมิและทุติยภูมิ) ได้แก่ อัตราการติดเชื้อไวรัสที่ปลายทาง (เกณฑ์ปฐมภูมิ) และ ศักยภาพทางการแพทย์และโครงสร้างพื้นฐานของระบบสาธารณสุขของปลายทาง(เกณฑ์ทุติยภูมิ)

เกณฑ์วินิจฉัยโรค Karoshi
พุธ, 16 กันยายน 2020

เกณฑ์วินิจฉัยโรค Karoshi

โรค Karoshi หรือ ที่ญี่ปุ่น ไต้หวัน และ เกาหลีใต้ เรียกว่าทำงานจนตาย เป็นโรคที่ชดเชยได้ คือเป็นโรคจากการทำงาน เป็นการที่ทำงานหนักจนเกิดโรคทางหัวใจและเส้นเลือดสมอง (overworked related cardiovascular and cerebrovascular disease) โดย เกณฑ์การวินิจฉัยที่ประเทศญี่ปุ่นและไต้หวันจะคล้ายกัน แต่ที่ประเทศเกาหลีใต้จะต่างกันออกไป โดยพบว่าปัจจัยสำคัญมากสองอย่างที่เกี่ยวข้องกับ Karoshi คือ ระยะเวลาทำงานที่ยาวนาน และมีความเครียดในงานมากเกินไป

ความรู้เกี่ยวกับรังสีเบื้องต้น
เสาร์, 12 กันยายน 2020

ความรู้เกี่ยวกับรังสีเบื้องต้น

นำมากจากที่ผมเคยเขียนใน blog gotoknow ในนาม occmedman หลายสิบปีก่อน ตอนนั้นไปอบรมเรื่องรังสีที่สถาบัน NIRS ของญี่ปุ่น เพื่อเตรียมสำหรับสร้างโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ในไทย ผมไปอบรมสองครั้ง ครั้งแรกอบรมความรู้ทั่วไป ครั้งที่สองเป็นครู สอนเรื่องอุบัติภัยรังสี เนื่องจากเคยไปอบรมที่ Chiba ที่ National Institue of Radiations ซึ่งเป็นโรงพยาบาลสำหรับการรับเหตุร้าย ทางรังสี ซึ่งในประเทศญี่ปุ่นครั้งนี้น่ากลัวมาก เราควรรู้ไว้บ้างแม้จะไม่น่าจะมีอุบัติเหตุเช่นนี้

การวินิจฉัยโรคจากการทำงาน
ศุกร์, 04 กันยายน 2020

การวินิจฉัยโรคจากการทำงาน

ปัจจุบันการวินิจฉัยโรคจากการทำงานนั้นดูเหมือนจะง่าย แต่ก็ไม่ง่าย เนื่องจากโรคจากการทำงานมาด้วยอาการต่างๆ ที่คล้ายกับโรคทั่วไป เช่น หลอดลมอักเสบ ถุงลมโป่งพอง โรคหัวใจ หรือ โรคมะเร็ง เนื่องจาก สิ่งก่อเหตุ (agent) ในสิ่งแวดล้อมในการทำงานนั้นมีผลต่อปอด ต่อเส้นเลือดแดงขนาดเล็ก ต่อการเต้นของหัวใจ เช่น ตัวทำละลาย (solvents) โลหะหนัก ฝุ่นทราย เส้นใยธรรมชาติ สิ่งที่จะช่วยในการวินิจฉัยที่สำคัญอย่างหนึ่งคือประวัติ แพทย์ที่ทำงานด้านอาชีวเวชศาสตร์ จะคุ้นเคยกับคำว่าทำงานอะไร ทำอย่างไร มาแล้ว การที่รู้ว่าผู้ป่วยนั้นทำงานอะไร จะช่วยทำให้เราวินิจฉัยแยกโรค จากการทำงานเข้าไปใน บัญชีการ วินิจฉัยแยกโรค (differential diagnosis) ของเราด้วย

อนาคตของอาชีวอนามัย
เสาร์, 18 กรกฎาคม 2020

อนาคตของอาชีวอนามัย

การเปลี่ยนแปลงในการจัดองค์กร การเปลี่ยนแปลงลักษณะของลูกจ้าง ภาวะโลกาภิวัฒน์ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยในงานและนอกงาน เกิดการเปลี่ยนแปลงขนาดใหญ่ในด้านสังคม เทคนิค และเศรษฐกิจ ซึ่งเป็นพื้นฐานใหม่ของเศรษฐกิจของโลก

ประสิทธิภาพของหน้ากากผ้า ข้อมูลจาก CDC อเมริกา
พุธ, 15 กรกฎาคม 2020

ประสิทธิภาพของหน้ากากผ้า ข้อมูลจาก CDC อเมริกา

CDC (หน่วยงานควบคุมโรค) อเมริกา แนะนำให้ประชาชนใส่หน้ากากผ้าในที่สาธารณะ เมื่อถูกห้อมล้อมโดยคนอื่นๆ ที่ไม่ใช่คนในครอบครัวของตนเอง โดยเฉพาะเมื่อมาตรการ social distancing ไม่สามารถทำได้ หน้ากากผ้าอาจจะช่วยป้องกันประชาชนที่เป็นโรคไม่ให้แพร่เชื้อไวรัสไปให้ผู้อื่นและจะลดการแพร่ของเชื้อไวรัสเมื่อมีการใช้อย่างแพร่หลายในที่สาธารณะ เด็กอายุน้อยกว่า 2 ปี ไม่ควรใส่หน้ากากผ้า และใครที่ใส่แล้วหายใจลำบาก หมดสติ หรือไม่สามารถเอาหน้ากากออกได้ด้วยตนเองได้

เทคโนโลยีเพื่��อ disrupt งานอาชืวอนามัยและความปลอดภัย
อังคาร, 14 กรกฎาคม 2020

เทคโนโลยีเพื่อ disrupt งานอาชืวอนามัยและความปลอดภัย

นนี้สอนแพทย์ 2 เดือน ไปค้นเนื้อหาเพื่อเตรียมสอน พบรูปหนึ่งซึ่งบอกอะไรหลายๆ อย่าง ลองดูในรูป จริงๆ พยายาม นั่งคิด และค้นหา new normal in occupational medicine ให้น้องๆ ในสถาบัน ซึ่งได้โจทย์ จากกรมการแพทย์มา ในหลายหน่วยงานเช่น Med Surg มันง่าย เพราะเป็นการรักษา ของ occ med จะค่อนข้างยาก ถึงยาก เพราะเป็นเรื่องการป้องกัน ที่ยากเพราะ ...

พูดถึง New Normal อีกครั้ง
อาทิตย์, 12 กรกฎาคม 2020

พูดถึง New Normal อีกครั้ง

ถ้า new normal เป็นเพียงแค่การป้องกัน COVID -19 มันคงไม่ใช่ new normal COVID-19 มาเพื่อ Disrupt ระบบ ทั้งหมด คงต้องมาคิดแล้วว่าสิ่งที่ทำอยู่มันคุ้มค่า พอเพียงหรือไม่ ไม่อย่างงั้นคิดว่าเป็นแค่การ social distancing ล้างมือ ใส่หน้ากาก มันไม่ใช่ new normal แต่มันเป็น self protection พอมันเลิกระบาดแล้วก็กลับมา normal (ดูประเทศไทยตอนนี้)

เตรียมตัวไว้สำหรับ COVID19 รอบสอง มันมาแน่
อาทิตย์, 12 กรกฎาคม 2020

เตรียมตัวไว้สำหรับ COVID19 รอบสอง มันมาแน่

อาชีพที่เสียงต่อ COVID19 แนวทางการเตรียมสถานที่ทำงานและการให้ความรู้แก่พนักงาน และหน้าที่ของหน่วยอาชีวอนามัย

อุตสาหกรรมปิโตรเคมี
พฤหัสบดี, 09 กรกฎาคม 2020

อุตสาหกรรมปิโตรเคมี

ได้จากการสลายตัวของอินทรีย์สารจำนวนมาก ทับถมกันในหินตะกอน ภายใต้ความร้อนและความดันมหาศาล เมื่อนำมากลั่นจะได้ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น ก๊าซหุงต้ม น้ำมันเบนซิน น้ำมันก๊าด น้ำมันดีเซล น้ำมันเตา ยางมะตอย รวมทั้งเคมีภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น ปุ๋ยเคมี ยาปราบศัตรูพืช พลาสติก และยางสังเคราะห์ เป็นต้น

การประเมินความสามารถในการทำงาน Functional capacity evaluation
พฤหัสบดี, 09 กรกฎาคม 2020

การประเมินความสามารถในการทำงาน Functional capacity evaluation

การประเมินความสามารถในการทำงาน( Functional Capacity evaluation ) เป็นการประเมินความสามารถในการทำงานหรือกิจกรรมของผู้ป่วย ที่มีความสัมพันธ์กับงานที่ผู้ป่วยประกอบอาชีพอยู่ คู่มือ “Dictionary of Occupational Titles” ซึ่งตีพิมพ์โดยภาคแรงงานของสหรัฐอเมริกา ได้แบ่งการทำงานของร่างกายพื้นฐานที่ต้องใช้ในการทำงานต่างๆออกเป็น 20 functions

Disease surveillance  & Medical Surveillance
พฤหัสบดี, 09 กรกฎาคม 2020

Disease surveillance & Medical Surveillance

การเฝ้าระวัง (Surveillance) คือ กิจกรรมในการตรวจสอบติดตาม (Monitor) พฤติกรรม (Behavior) กิจกรรม (Activity) หรือข้อมูล (Information) ของคนหรือสิ่งแวดล้อม เพื่อวัตถุประสงค์ในการ ควบคุม ปกครอง บริหารจัดการ หรือปกป้อง เป็นหลัก การเฝ้าระวังโรคในบริบทของอาชีวอนามัยเน้นเรื่องความเจ็บป่วยเฉียบพลันและเรื้อรังที่เกิดจากการทำงาน

การรับมือสถานการณ์ระบาดของโคโรน่าไวรัสในพนักงานสถานประกอบการ
พฤหัสบดี, 09 กรกฎาคม 2020

การรับมือสถานการณ์ระบาดของโคโรน่าไวรัสในพนักงานสถานประกอบการ

ในปี 2020 ทุกคนให้ความสนใจเกี่ยวกับการระบาดของโคโรน่าไวรัส โดยเฉพาะคนที่มีแผนจะเดินทางไปประเทศที่เสี่ยง เพิ่งกลับมาจากหรือมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ที่กลับจากการเดินทางไปประเทศที่เสี่ยง แล้วเราจะป้องกันตัวเราเอง ครอบครัว เพื่อนร่วมงานในบริษัท และคนอื่นๆในชุมชนได้อย่างไร?

Nitrogen dioxide
จันทร์, 29 มิถุนายน 2020

Nitrogen dioxide

มาทำความรู้จักกับ Nitrogen dioxide พระเอกของคุณภาพอากาศอีกตัวหนึ่ง ที่เป็นปัญหาด้านมลภาวะ ทางกลุ่มประเทศอียู กำลังมีปัญหา เพราะจาก new normal กำลังกลายเป็น normal เพราะเริ่มสูงขึ้นเหมือนเดิม โดยสูงขึ้นมากพร้อมกับการคลาย lock down เกิดจากการจราจรที่มากขึ้น

การทำงานในหน้าฝน
อังคาร, 23 มิถุนายน 2020

การทำงานในหน้าฝน

ในหน้าฝน โดยเฉพาะในหน้ามรสุม จะมีอันตรายต่อประชาชนหลายอย่าง ทั้งเรื่องถนนลื่น อุบัติเหตุ สำหรับผู้ใช้แรงงานก็มีอันตรายต่อสุขภาพ แม้ฝนตกมาเพียงเล็กน้อย ก็จะทำให้มีการลื่น หกล้มหรืออุบัติเหตุ โดยเฉพาะในอาชีพที่ต้องทำงานนอกอาคารเช่นงานก่อสร้าง นอกจากนี้ยังมีอุบัติเหตุจากไฟช๊อต การใช้เครื่องมือที่ไม่ถูกต้องด้วย

Chef's Health อันตรายต่อสุขภาพในอาชีพคนทำครัว
ศุกร์, 12 มิถุนายน 2020

Chef's Health อันตรายต่อสุขภาพในอาชีพคนทำครัว

อันตรายต่อสุขภาพในอาชีพคนทำครัว (Chef) มีทั้งจาก อันตรายทางกายภาพ การยศาสตร์ ปัญหาความเครียด การทำงานเป็นกะ และอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นได้บ่อย

สภาพจิตตกต่ำรุนแรงของคนทำงานในยุคโควิด
เสาร์, 23 พฤษภาคม 2020

สภาพจิตตกต่ำรุนแรงของคนทำงานในยุคโควิด

จากโพลพบว่าคนทำงานเกือบครึ่งในประเทศอังกฤษมีปัญหาทางจิตใจจากการระบาดของเชื้อโควิด ซึ่งมากกว่าหนึ่งในสามบอกว่าพวกเขามีความกังวลเกี่ยวกับอนาคต และในสัดส่วนพอๆกัน กล่าวว่าพวกเขารุ้สึกพ่ายแพ้ นอกจากนี้จากการศึกษายังพบว่าส่วนใหญ่มีความกลัว วิตกกังวล ตื่นตระหนก เก้าในสิบคนยอมรับว่ามีความรู้สึกโดดเดี่ยวและนอนยาก ซึ่งเรื่องเหล่านี้ไม่ใช่เรื่องของ NHS แต่เป็นเรื่องของอาชีวอนามัย

การเกิด PTSD ในคนทำงาน จาก COVID-19
เสาร์, 23 พฤษภาคม 2020

การเกิด PTSD ในคนทำงาน จาก COVID-19

จากเหตุการณ์ COVID-19 มีการ Lock down และมีข่าวคนเจ็บ คนตายทั่วโลกเป็นจำนวนล้าน เกิดภาวะว่างงาน ขาดเงิน ขาดรายได้ แบบฉับพลัน ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่คนรุ่นปัจจุบัน ไม่เคยประสบมาก่อน ถือเป็นเหตุการณ์ร้ายแรงตั้งแต่ปานกลางถึงมากตามประสบการณ์ของแต่ละคน ซึ่งทำให้เกิดอาการทางจิตสังคมหลายแบบ เช่น วิตกกังวล ซึมเศร้า แต่มีโรคหนึ่ง ซึ่งเกิดจากเหตุการณ์สะเทือนขวัญอย่างรุนแรง ซึ่งมีชื่อภาษาอังกฤษว่า PTSD (Post-traumatic stress disorder)

🌟ทำไม PM 2.5 แก้ไขไม่ได้สักที ? 📢
ศุกร์, 22 พฤษภาคม 2020

🌟ทำไม PM 2.5 แก้ไขไม่ได้สักที ? 📢

ในภาวะฝุ่นละออง PM 2.5 ปกคลุมประเทศไทยช่วงธันวาคมถึงมีนาคมทุกปีตลอดสามปีที่ผ่านมา ก่อนอื่นต้องทำความเข้าใจก่อนว่า ปัจจัยหลัก 3 อันดับแรก มาจาก รถยนต์ กิจกรรมการเผา โรงงานอุตสาหกรรม รองลงมาเกิดจากการก่อสร้าง

Course เกี่ยวกับ Occupational and environmental health ของ UCSF
ศุกร์, 15 พฤษภาคม 2020

Course เกี่ยวกับ Occupational and environmental health ของ UCSF

Course นี้จัดโดย Division of Occupational and Environmental Medicine ซึ่งอยู่ในแผนกอายุรกรรมที่ University of California San Francisco ซึ่งเป็นเรื่องการทบทวนเฉพาะหัวข้อ และการ update ในหัวข้อปัจจุบันเกี่ยวกับ occupational and environmental medicine

บทบาทของแพทย์อาชีวเวชศาสตร์ในประเทศอังกฤษ
พฤหัสบดี, 14 พฤษภาคม 2020

บทบาทของแพทย์อาชีวเวชศาสตร์ในประเทศอังกฤษ

บทความนี้เรียบเรียงจาก NHS health career ของประเทศอังกฤษ แพทย์อาชีวเวชศาสตร์จะวินิจฉัย จัดการและป้องกัน โรคจากการทำงาน ซึ่งหมายถึง โรคซึ่งเกิดจากการทำงานหรืออาการของโรคที่เป็นอยู่กำเริบจากปัจจัยในที่ทำงาน แพทย์อาชีวเวชศาสตร์จะเกี่ยวข้องกับมิติต่างๆ ของผลจากงานต่อสุขภาพ และผลต่อสุขภาพที่มีต่องาน

Work from home
พฤหัสบดี, 30 เมษายน 2020

Work from home

การทำงานจากบ้านฟังเหมือนจะสบาย แต่ก็มีความท้าทายเยอะ เช่น จะทำอย่างไรถ้าจะต้องติดต่อกับเพื่อนร่วมงาน หรือ ต้องการบางอย่างจากออฟฟิตซึ่งไม่สามารถเข้าถึงได้ จะจัดการปัญหาที่มาดึงความสนใจจากการทำงานเช่น สัตว์เลี้ยง ครอบครัว และสิ่งอำนวยความสะดวกอื่นๆ

บทความพิเศษ สมรรถนะของแพทย์อาชีวเวชศาสตร์
จันทร์, 21 ตุลาคม 2019

บทความพิเศษ สมรรถนะของแพทย์อาชีวเวชศาสตร์

บทความนี้นำเสนอสมรรถนะหลักของแพทย์อาชีวเวชศาสตร์และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม 10 หัวข้อตามที่วิทยาลัยอาชีวเวชศาสตร์และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อมแห่งอเมริกากำหนดและเสนอสมรรถนะของแพทย์อาชีวเวชศาสตร์ที่สมาคมโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมแห่งประเทศไทยได้หารือกันและจะนำเสนอแก่สมาชิกและสังคมต่อไป

คำแนะนำการดูแลสุขภาพผู้ประสบอุทกภัย
จันทร์, 23 กันยายน 2019

คำแนะนำการดูแลสุขภาพผู้ประสบอุทกภัย

Infographic เรื่องคำแนะนำการดูแลสุขภาพผู้ประสบอุทกภัย จากกรมแพทย์ทหารบก กองทัพบก

ข้อแนะนำการรับมือภาวะที่มีฝุ่น
จันทร์, 23 กันยายน 2019

ข้อแนะนำการรับมือภาวะที่มีฝุ่น

Infographic เรื่องข้อแนะนำการรับมือภาวะที่มีฝุ่น จากกองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

ประวัติสมาคม
อังคาร, 17 เมษายน 2018

ประวัติสมาคม

ในยุคเริ่มแรกมีการจัดตั้งชมรมแพทย์เวชศาสตร์อุตสาหกรรมโดยศาสตราจารย์เกียรติคุณนายแพทย์มุกดา ตฤษณานนท์ เป็นสาขาหนึ่งของสมาคมเวชศาสตร์ป้องกัน ซึ่งหลังจากนั้นได้มีการเปลี่ยนชื่อเป็นชมรมแพทย์อาชีวเวชศาสตร์แห่งประเทศไทยในวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2540